Posts

Showing posts from July, 2018

ภาษาโปรแกรม

ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีวิวัฒนาการมายาวนาน นับตั้งแต่การสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาเครื่องที่ประกอบด้วยเลข 0 และ 1 ในยุคเริ่มแรกของคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการต่อการเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่เนื่องด้วยความยากของการเขียนโปรแกรม จนมาถึงปัจจุบันที่ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีความคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษ ทำให้การเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่ทำได้รวดเร็ว และมีความผิดพลาดน้อยลง แต่เนื่องจากคอมพิวเตอร์ยังคงต้องทำงานตามคำสั่งภาษาเครื่อง เมื่อเราเขียนโปรแกรมแล้วจึงต้องมีการแปลให้เป็นภาษาเครื่องก่อน ตัวแปลภาษามี 2 ประเภท คือ 1.คอมไพเลอร์(compiler)จะแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้ถูกต้อง จึงจะได้ผลลัพท์เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องที่นำไปสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ภาษาที่ต้องแปลด้วยคอมไพเลอร์ เช่น c,c++,java 2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) จะเเปลคำสั่งในโปรเเกรมทีละคำสั่งให้เป็นภาษาเครื่อง ส่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานทันทีโดยไม่ต้องรอให้เเปลเสร็จทั้งโปรเเกรม เช่น Python,Logo

กิจกรรมที่ 2.2 การต้มข่ยางมตูม ทำได้โดยนำไข่ใส่น้ำและตั้งไฟแล้วให้รอน้ำเดือด แล้วต้มต่ออีก 7 นาที จึงจะได้ไอย่างมะตูม

Image

ตัวอย่างรหัสลำลองแลผังงานที่มีการทำงานแบบวนซ้ำ

Image

ตัวอย่างการเขียนรหัสลำลองและผังงานแบบแบบมีเงื่อนไข

Image

การกำหนดค่าให้ตัวแปร

การกำหนดค่าอน่างใดอย่างหนึ่งกับตัวแปรสามารถทำได้ 3 วิธี O การรับค่าจากภายนอก O การกำหนดค่าจากค่าคงที่หรือตัวแปรอื่น O การกำหนดค่าจากการคำนวณ สัญลักษณ์ ที่นิยมใช้สำหรับกำหนดค่าให้กับตัวแปล คือ ⇠ ใช้เพื่อนำค่าทางขวาของ ⇠ ไปกำหนดให้กับตัวแปลด้านซ้ายของ ⇠ การตั้งชื่อตัวแปรควรตั้งชื่ิอให้เหมาะสมกับค่าที่เก็บตัวแปร เช่น ตัวแปร name เก็บข้อมูลชื่อ,ตัวแปรageเก็บข้อมูลอายุ ตัวอย่างการเขียนการรับค่าตัวแปร x⇽ 2 นำค่า 2 ไปใส่ในตัวแปร x

ตัวอย่างการเขียนรหัสลำลองและผังงาน

Image

ผังงาน

Image
ผังงาน หมายถึง เป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการวางแผนหรือออกแบบแก้ปัญหา เพื่อให้สามารถนำไปปฏิบัติตามหรือเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ง่าย สถามาตรฐาแห่งชาติอเมริกา the american national standard institute:ansi ได้กำหนดสัญลักษณ์ที่เป็นมาตรฐานในการเขียนผังงาน ซึ่งในที่นี้จะแนะนำการใช้งาน 5 สัญลักษณ์

คำถามชวนคิด

ให้จัดเรียงการทำงานต่อไปนี้ เพื่อคำนวนค่าน้ำมันในการเดินทางตามระยะทางที่กำหนด 1.รับระยะทางในการทำงาน 2.รับปริมาณน้ำมันต่อระยะทาง 3.แสดงค่าน้ำมันที่ต้องใช้ 4.รับราคาน้ำมัน

การเขียนรหัสลำลองและผังงาน

การเขียนรหัสลำลอง หมายถึง เป็นการใช้คำบรรยายอธิบายขั้นตอนอย่างชัดเจนในการแก้ปัญหาหรือการทำงานของโปรแกรมซึ่งรูปแบบการเขียนจะขึ้นอยู่กับประสบการณ์ และความถนัดของผู้เขียน โดยอาจเขียนเป็นภาษาพูด ทำให้เขียนง่ายไม่กังวลรูปแบบ การเขียนรหัสลำลอง เรื่อง การแต่งกายชุดนักเรียน เริ่มต้น           1.ใส่เสื้อ           2.ใส่กางเกงใน           3.ใส่กางเกงบอล           4.ใส่กางเกงนักเรียน           5.ใส่ถุงเท้า           6.ใส่เข็มขัด           7.ใส่รองเท้า

ตัวอย่างขั้นตอนการแก้ปัญหา

1.การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา เป็นการทำความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียด เงื่อนไขข้อกำหนด รวมถึงข้อจำกัดต่างๆของปัญหา ข้อมูลที่จำเป็นในการแก้ปํญหา ตรวจสอบว่า มีข้อมูลเพียงพอหรือไม่ จะหาข้อมูลเพิ่มเติมให้ครบถ้วนต่อการแก้ปัญหาได้อย่างไร ข้อมูลผลลัพท์ที่ได้คืออะไรและจะตรวจสอบความถูกต้องของผลลัพท์ได้อย่างไร 2.การวางแผนการแก้ปัญหา เป็นการคิดค้นกระบวนการต่างๆ ที่เป็นขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งได้ผลลัพท์ที่ต้องการ ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์และความรู้ของผู้แก้ปัญหา โดยอาจนำวิธีที่เคยแก้ปัญหา หรือค้นหาวิธีการอื่นแล้วนำมาประยุกต์เข้ากับปัญหาที่กำลังแก้ไข เครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา สำหรับพัฒนาโปรแกรม อาจเลือกใช้รหัสลำลอง หรือผังงานโดยวิธีการแก้ปปัญหาที่เรียกว่า ขั้นตอนวิธีหรืออัลกอริทึม ซึ่งเป็นลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือการทำงานที่ชัดเจนตั้งแต่เริ่มต้นแก้ปํญหา จนกระทั้งได้ผลลัพท์ 3.กานดำเนินการแก้ปัญหาเป็นการนำกระบวนการที่ได้วางแผนไว้มาปฏิบัติ หรือพัฒนาโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา โดยอาจใช้ภาษาโปรแกรมช่วยในการดำเนินการ 4.การตรวจสอบและประเมินผล ขั้นตอนนี้จะทำควบคู่ไปกับขั้นตอนการดำเนินการแ...

ขั้นตอนการแก้ปัญหา

Image
การแก้ปัญหามี 4 ขั้นตอน

การแก้ปัยญหา

ทบทวนความรู้ก่อนเรียน ✅การถ่ายทอดความคิิดในการแก้ปัญหาหรือการทำงาน อาจเขียนเป็นข้อความที่แสดงให้เห็นการแก้ปัญหาหรือการทำงานที่เป็นลำดับขั้นตอน ✅การแสดงลำดับขั้นตอนในการทำงานหรือแก้ปัญหา อาจใช้ภาพ สัญลักษณ์ ข้อความหรือการบอกเล่า ✅หากพิจราณาขั้นตอนการทำงาน สามารถบอกถึงผลลัพท์ที่จะเกิดขึ้นได้ ✐ลองทำดู 1.เดินออกจากบ้าน 2.มานั่งรอรถ 3.รถมา 4.รถจอด 5.เปิดประตูรถ 6.ปิดประตูรถ 7.นั่งบนเบอะรถ 8.นั่งรอจนถึงโรงเรียน 9..เปิดประตูรถ 10.ปิดประตูรถ

แบบฝึกหัดหน่วยที่3 แนวคิดเชิงนามธรรม ชุดที่2

การถ่ายทอดรายละเอียดนี้ไปสู่ผู้ที่จะวิเคราะห์และแก้ปัญหา การถ่ายทอดรายละเอียดนี้ไปสู่ผู้ที่จะวิเคราะห์และแก้ปัญหา ซึ่งเป็นไปได้หลายรูปแบบ หากผู้แก้ปัญหาคือบุคคลอื่น การถ่ายทอดปัญหาสามารถทำได้โดยอธิบายเป็นข้อความและอาจเป็นแผนภาพประกอบ หากผู้แก้ปัญหาคือคอมพิวเตอร์ การถ่ายทอดวิธีการแก้ปัญหาก็จะอยู่ในรูปของภาษาโปรแกรม กิจกรรมที่1 1.เส้นทางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านที่ใช้ระยะทางสั้นที่สุด ตอบ 900 เมตร 2.เส้นทางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านที่สั้นที่สุดโดยแวะร้านขายขนม ตอบ  1,300 เมตร 3.เส้นทางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านที่สั้นที่สุดโดเฉพาะยแวะร้านขนม และ เลือกเดินเฉพาะถนนที่มีร่มเงาเท่านั้น ตอบ 2,400 เมตร